Made with FlowPaper - Flipbook Maker
MFA Thailand Channel Open. Connect. Balance. เปิดกว้างสร้างสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สู่สมดุล ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๘๙A M 1 5 7 5 k H z A M 1 5 7 5 k H z A M 1 5 75 k H z A M 1 5 7 5 k H z A M 1 5 7 5 k H z A M 1 5 7 5 kHz ๒๕๔๑ Radio Free Asia ๒๕๑๑ ๒๕๐๘ ๒๕๓๐ SARANROM ๒๕ ปี วิทยุสราญรมย์ จากอดีต ถึงปัจจุบัน สู่อนาคต 25 ๒๕๐๘๒๕๑๑๒๕๓๐๒๕๔๑ ภายหลังสงครามเย็น จึงเปลี่ยนมาเป็นเพื่อมุ่งเน้นการส่งเสริม ความเป็นมิตร ความเข้าใจอันดี และความร่วมมือระหว่างประเทศไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้คนไทยทั้งในประเทศและต่างประเทศ เข้าใจและให้การสนับสนุนนโยบายต่างประเทศของไทย และเพื่อ เป็นการประชาสัมพันธ์ผลงานที่สําคัญต่าง ๆ ของรัฐบาลไทยและ ของกระทรวงการต่างประเทศ สถานีวิทยุสราญรมย์ถือกําเนิดขึ้นเมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๔๑ โดยมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๔๑ เพื่อนําเสนอข่าวสารที่ถูกต้อง เที่ยงตรง และฉับไว ตลอดจน บทความ วิทยาการ และสาระบันเทิงที่เป็นประโยชน์ เพื่อตอบสนอง นโยบายการทูตเพื่อประชาชน วิทยุสราญรมย์จึงเปรียบเสมือนสะพาน ที่ทอดยาวเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างกระทรวงการต่างประเทศกับ ประชาชน และปี ๒๕๔๑ ยังเป็นปีเริ่มต้นของ“วารสารวิทยุสราญรมย์” ที่เกิดขึ้นเพื่อมุ่งให้ความรู้และบอกเล่าเกี่ยวกับการต่างประเทศ ในหลากหลายมิติอีกด้วย สถานีวิทยุเอเชียเสรีเริ่มออกอากาศครั้งแรกโดยการดําเนินการ ของกองวิทยุกระจายเสียง กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ กระจายเสียงผ่านคลื่นความถี่ AM 1575 kHz กลุ่มผู้ฟังหลักคือ คนไทยทั้งในและนอกประเทศ ภายใต้คําขวัญที่ว่า “เชื่อมั่นในท่าที เสรีในโลกทรรศน์” โดยมีเป้าหมายหลักในการกระจายเสียงครอบคลุม พื้นที่ในเขตภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนบริเวณตอนใต้ ของประเทศจีน จุดเริ่มต้น ǣǣƮǣǦƮǦǝ Ʊร˘˞ƴǩรƮ เƱร˱่ǣƴม˱ǣǟ˚ƴเǟริม ƱǜǦมเƯ้Ǧǫจ เม˱่ǣǍริǍNJ ƯǣƴǪǙƮเǎǙ˭่ǕนǬǎ สถานีวิทยุเอเชียเสรี จัดตั้งขึ้นภายใต้ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือ ด้านการกระจายเสียงระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๐๘ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ภัยคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์และเผยแพร่ความดีงามของระบอบ ประชาธิปไตย รวมทั้งส่งเสริมเสรีภาพของประเทศไทยกับประเทศ ต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นแนวทางการจัดรายการของสถานี ในระยะเริ ่ มแรก ๒๕๐๘๒๕๑๑ ๒๕๓๐๒๕๔๑ SĊDB1#'865$6'8 .6.5%"5Ė'45'4A, Ü6'=+5''%Ý 1 +6%AęE&%<%D/%Ē .<.%<).<9I"1A"9& D+899+8D/%Ē Ċ9ISU59IYYA%-6&5&6&SVWU๒๕๕๕ ๒๕๕๙ ๒๕๖๕ ๒๕๕๖ ANROM RADIO 25 ๒๕๕๕๒๕๕๖๒๕๕๙๒๕๖๕ ครบรอบ ๒๕ ปี วิทยุสราญรมย์ วิทยุที่อยู่คู่กับคนไทยมา ๒๕ ปี สู่ MFA THAILAND CHANNEL ที่ยังคงมุ่งมั่นที่จะผลิตเนื้อหาดี ๆ รายการใหม่ ๆ และรูปแบบการจัดรายการที่แตกต่างไปจากเดิม เพื่อให้ประชาชนได้เข้าใจและรับรู้ถึงการต่างประเทศที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา ภายใต้คําขวัญที่ว่า “ ก้าวไกล เพื่อไทย ทันโลก ” เช่นเดียวกับ วารสารวิทยุสราญรมย์ที่ได้เปลี่ยนผ่านรูปแบบสู่ E-magazine “MFA THAILAND CHANNEL” ไปพร้อมกัน วิทยุสราญรมย์เริ ่ มมีการ Live หรือถ่ายทอดสดเพื่อให้ผู้จัดรายการของ สถานีวิทยุสราญรมย์สามารถพูดคุยและโต้ตอบกับผู้ฟังผ่านทาง ออนไลน์ได้ และยังมีการถ่ายทอดสดการแถลงข่าวประจําสัปดาห์ของ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ การประชุม การสัมมนา และกิจกรรม ต่าง ๆ ของกระทรวงฯ ทําให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการต่างประเทศ และทราบถึงบทบาทภารกิจของกระทรวงฯ ได้ง่ายและชัดเจนมากขึ้น วิทยุสราญรมย์มีการเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ทางออนไลน์ โดยผ่าน Facebook ที่ใช้ชื่อ “Saranrom Radio” เพจนี้ ได้นําเสนอรายการและสาระน่ารู้ต่าง ๆ รวมถึงคลิปวีดิทัศน์ มากมาย เพื่อให้ผู้ชมและผู้ฟังเข้าถึงการต่างประเทศได้สะดวก มากยิ ่ งขึ้น วิทยุสราญรมย์เปิดใช้งานเว็บไซต์ที่มีชื่อว่า saranrom.mfa.go.th เป็นครั้งแรกเพื่อเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการประชาสัมพันธ์บทบาท ภารกิจด้านการต่างประเทศผ่านระบบออนไลน์ โดยเว็บไซต์นี้เป็นแหล่ง รวบรวมรายการของสถานีฯ ตารางการออกอากาศ สาระน่ารู้ต่าง ๆ วารสารวิทยุสราญรมย์ยังได้ปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัลในรูปแบบ E-Book รวมถึงการรับฟังวิทยุในรูปแบบออนไลน์ เพื่อต่อยอดจากการฟังวิทยุ ในรูปแบบเดิม เƯ้Ǧǟ˼˚ǕุƱ ดิจิNJ˘Ǚ Facebook Page Saranrom Radio Live ๒๕๕๕๒๕๕๖ ๒๕๕๙ MFA Thailand Channel ๒๕๖๕ 01 MFA Thailand ChannelMFA ThailandChannel เอเปค ๒๕๖๕ บัวแก้ว เชิญชาวไทย ร่วมภูมิใจ ทั้งประเทศ ต้อนรับ ๒๐ เขต เศรษฐกิจ มิตรใกล้ไกล เอเปค '๖๕ นี้ จัดขึ้นที่ ประเทศไทย เพื่อเพิ ่ ม โอกาสใหม่ เชื่อมค้าขาย และลงทุน “เปิดกว้าง สร้างสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สู่สมดุล” ใช้ BCG หนุน สุขเพิ่มพูน พัฒนา “ชะลอม” สานจากไผ่ คือร่วมใจ ไปข้างหน้า ผลักดัน ลงทุนค้า เพิ ่ มมูลค่า อนาคตใหม่ เป็นเจ้าภาพที่ดี สมศักดิ ์ ศรี งามอย่างไทย นํ้าหนึ่ง รวมใจได้ โลกก้าวไกล ไทยยั่งยืน ชลทิพา วิญญุนาวรรณ นักการทูตช�านาญการ (ที่ปรึกษา) กรมสารนิเทศ 03ก ารบอกเล่าเรื่องราวด้านการ ต่างประเทศในหลากหลายมิติ คือวัตถุประสงค์ของวารสารวิทยุ สราญรมย์ ที่ดําเนินการมาตลอด ๒๕ ปี โดยกว่า ๒ ทศวรรษที่ผ่านมาวารสารวิทยุ สราญรมย์ได้ผ่านการปรับตัวและพัฒนา ทั้งรูปแบบและเนื้อหาให้เข้ากับยุคสมัย ที่เปลี่ยนไป และในปี ๒๕๖๕ นี้ เรานําเสนอ วารสารในรูปแบบใหม่ภายใต้ชื่อใหม่ คือ “MFA Thailand Channel” เพื่อเน้นยํ้าถึงการเป็น ช่องทางสื่อสารด้านการต่างประเทศที่ทันสมัย และตอบโจทย์โลกยุคปัจจุบัน โดยในส่วน ของรูปเล่ม เราได้ปรับให้มีขนาดใหญ่ขึ้น มีการจัดวางเนื้อหาและภาพประกอบให้ดู ทันสมัย อ่านง่าย สบายตา วารสาร “MFA Thailand Channel” ฉบับปฐมฤกษ์นี้มีเรื่องราวที่น่าสนใจมากมาย โดย highlight ของวารสารฉบับนี้คือ เรื่องราวเกี่ยวกับการเป็นเจ้าภาพการประชุม เอเปค ปี ๒๕๖๕ ของประเทศไทย ซึ่งถือเป็น วาระแห่งชาติและมีความสําคัญต่อประชาชน คนไทยทุกคนอย่างมาก การเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมระหว่างประเทศในครั้งนี้ นับเป็นโอกาสของประเทศไทยทั้งในด้าน การฟื้นฟูเศรษฐกิจ การค้า การลงทุนและ การท่องเที่ยว โดยไทยจะขับเคลื่อนนโยบาย เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ เศรษฐกิจสีเขียว หรือ BCG Economy ที่เป็น วาระแห่งชาติในเวทีเอเปคปีนี้ด้วย การเป็น เจ้าภาพครั้งนี้ยังเป็นโอกาสในการสร้าง ความเชื่อมั่นต่อศักยภาพและความพร้อมของ ประเทศไทยในการเปิดประเทศเพื่อต้อนรับ มิตรของเราจาก ๒๐ เขตเศรษฐกิจด้วย นอกเหนือจากเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับ การเป็นเจ้าภาพเอเปค ปี ๒๕๖๕ แล้ว เรายังนําเสนอ เรื่องเล่าจากมุมมองและประสบการณ์ตรง ของนักการทูตและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน การทูตในมิติต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวของ เส้นทางการเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ กว่า ๗๕ ปี ของไทย การขับเคลื่อนอํานาจละมุน หรือ “Soft Power” ในเวทีโลก ความสัมพันธ์ อันแนบแน่นและยาวนานระหว่างไทย - ญี่ปุ่น ไทย - สวิตเซอร์แลนด์ การช่วยเหลือแรงงานไทย ในลิเบีย วิถีธรรมทางการทูต และเรื่องราว ของคุณชวน นักการทูตในเอธิโอเปีย ที่หลายคน เฝ้าติดตาม พบกันใหม่ใน “MFA Thailand Channel” ฉบับหน้า และมาร่วมกันเป็นเจ้าบ้านที่ดี ในการเป็นเจ้าภาพเอเปค ปี ๒๕๖๕ นี้นะคะ (ชลธี จันทร์รัชชกูล) บรรณาธิการบริหาร MFA Thailand Channel บทบรรณาธิการ05 ContentsMFA Thailand Channel 25 ปี วิทยุสราญรมย์ จากอดีต ถึงปัจจุบัน สู่อนาคต 1 กลอน “เอเปค 2565” 3 ธานี ทองภักดี ปลัด กต. เล่า ไทยกับการเป็นเจ้าภาพเอเปค 6 “ชะลอม” โลโก้ APEC 2022 Thailand เปิดกว้างสร้างสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สู่สมดุล 12 การประชาสัมพันธ์การเป็นเจ้าภาพ การประชุมเอเปค 2๐22 16 เส้นทางกว่า ๗5 ปี ของไทย ในสหประชาชาติ 22 กระทรวงการต่างประเทศ กับบทบาทการขับเคลื่อนอ�านาจละมุน (Soft Power) ในเวทีโลก 30 กลอน “ภูมิใจ... ถิ่น ไทย ธรรม” 35 Dhamma Diplomacy วิถีธรรมทางการทูต 36 นักการทูตไทยในเอธิโอเปีย ตอนที่ ๑๔ อ�าลาอาลัย 46 ครั้งหนึ่งในการประจ�าการ ที่ประเทศลิเบียกับการอพยพ แรงงานไทยออกจากสงคราม กลางเมือง 52 ๙๐ ปี ความสัมพันธ์ ไทย - สวิตเซอร์แลนด์ จากยุงเฟราถึงเขาใหญ่ 62 ๑๓5 ปี มิตรไมตรี ไทย - ญี่ปุ่น 66 กลอน “๑๓5 ปี ไทย - ญี่ปุ่น” 71 ๓๐ ๑6 สารบัญบทสัมภาษณ์จากหนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ 0๖เราต้องการสะท้อนอะไรจากการก�าหนดหัวข้อหลัก ในการเป็นเจ้าภาพเอเปคของไทยว่า Open. Connect. Balance. หรือ เปิดกว้างสร้างสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สู่สมดุล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกันตั้งใจ ให้การเป็นเจ้าภาพจัดประชุมเอเปค ๒๕๖๕ เกิดประโยชน์ต่อคนไทย มากที่สุด หัวข้อหลัก (Theme) จึงต้องสะท้อนประเด็นที่คนไทย ต้องการและต้องได้ประโยชน์ โดยไทยยังสานต่อการทํางานของ เอเปคได้ต่อเนื่อง กระทรวงการต่างประเทศเริ ่ มกระบวนการระดม สมองตั้งแต่ต้นปี ๒๕๖๓ กับคนหลายกลุ่ม อาทิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ดําเนิน ธุรกิจหลากหลายสาขา รวมทั้ง SMEs และ start-ups สื่อมวลชน ข้าราชการรุ่นใหม่ และประชาชน รวมถึงเริ ่ มวางแผนงานร่วมกับ หน่วยงานและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องร่วมกันเตรียมการเป็นเจ้าภาพมาตั้งแต่ต้น แนวคิดเบื้องหลังหัวข้อหลัก คือ การเน้นฟื้นฟูเศรษฐกิจ หลังโควิด-๑๙ ให้ยั่งยืน ครอบคลุม และสมดุล โดยส่งเสริมให้คน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและความคิด เพื่อนําไปสู่การสร้างสมดุลการทํา ธุรกิจ การดําเนินชีวิต และการอยู่ร่วม กับธรรมชาติในภาพรวม โดยไทยได้นํา โมเดลเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว หรือ Bio-Circular-Green Economy (BCG Model) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ ชาติในการฟื้นฟูเศรษฐกิจจาก โควิด-๑๙ มาเป็นไอเดียตั้งต้น ธานี ทองภักดี ปลัด กต. เล่า ไทยกับการเป็นเจ้าภาพเอเปค ประเทศไทยมีโอกาสได้กลับมาเป็นเจ้าภาพการประชุมเอเปคอีกครั้ง โดยครั้งนี้เป็นครั้งที่ 3 ไทยจะได้อะไรจากการเป็นเจ้าภาพ นายธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ จะมาอธิบายให้เราได้เข้าใจ สมาชิกเอเปค เอเปคมีสมาชิกรวม 21 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ฮ่องกง นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ไทย จีนไทเป ชิลี เม็กซิโก ปาปัวนิวกินี เปรู รัสเซีย และเวียดนาม 07 MFA ThailandChannelNext >